มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาและบริหารจัดการโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศและการสื่อสาร ใหมี การกระจายอยางทั่วถึงไปสู่ประชาชนทั่วประเทศ รวมถึงผูดอยโอกาส ผูสูงอายุ และผูพิการ โดย สงเสริมใหผูประกอบการจัดใหมีโครงสรางพื้นฐานที่มีศักยภาพทันกับวิวัฒนาการของเทคโนโลยี เพื่อ รองรับการขยายตัวของความตองการของผูบริโภค สามารถใหบริการมัลติมีเดีย ธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส และบริการใดๆ ที่เปนประโยชนตอวิถชีวิตสมัยใหมในสังคมแหงการเรียนรู อีกทั้ง มุงเนนการลดปญหาความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงขอมูลขาวสาร เพือทําใหสังคมมีความสงบสุข และ ประชาชนมีคณภาพชีวิตทีดีขึ้น โดยมีมาตรการที่สําคัญ 4 กลุม ประกอบดวย
(1) ขยายประเภทบริการ เพิ่มพื้นที่ใหบริการ และปรับปรุงประสิทธิภาพของโครงขาย โทรคมนาคม ภายใตหลักการแขงขันเสรีและเปนธรรมอยางแทจริงและใหเกิดผลในทาง ปฏิบัติ โดยสงเสริมการลงทุนทั้งจากในประเทศและตางประเทศ สนับสนุนผูประกอบการ ไทย โดยเฉพาะใหผูประกอบการในทองถิ่นสามารถลงทุนในเทคโนโลยีทางเลือกเพื่อสราง เชื่อมตอ และ ใหบริการโครงขายปลายทาง (last mile) โดยมีหลักการในการขยายโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศที่เริ่มจากจังหวัดศูนยกลางความเจริญในภูมิภาคและอําเภอเมืองทั่วประเทศ กอนที่จะมีการขยายไปยังพื้นที่ที่เหลือตามความเหมาะสมของเวลา บนหลักเศรษฐกิจพอเพียง
(2) เรงรัดการสรางความมั่นคงของระบบสารสนเทศ (Information security) ของ หนวยงานของรัฐและหนวยงานที่เกี่ยวกับโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญยิ่งยวด (Critical Infrastructure) ของประเทศ รวมถึงการสรางความรูความเขาใจถึงภัยอันตรายและ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เพื่อหาแนวทางในการปองกันและแกไขอยางเหมาะสม
(4) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศสําหรับบริการภาคสังคมทีสําคัญตอความ ปลอดภัยสาธารณะและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยรัฐรวมกับองคกรกํากับดูแล กิจการโทรคมนาคมและการแพรภาพกระจายเสียง ในการจัดสรรทรัพยากรการสื่อสาร โทรคมนาคมและโครงขาย ICT เพื่อการบริการภาคสังคมที่สําคัญ อาทิ การสาธารณสุข พื้นฐาน การเฝาระวัง การเตือนภัย และการจัดการในชวงหลังการเกิดภัยพิบัติ พรอมทั้ง ใหมีการจัดสรรงบประมาณดาน ICT แกหนวยงานที่รับผิดชอบบริการดังกลาว อาทิ สถานพยาบาลและสถานีอนามัยในชนบททั่วประเทศอยางเหมาะสม (3) พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT เพื่อยกระดับการศึกษา และการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน โดยการสรางแรงจูงใจแกผูประกอบการในการพัฒนาโครงขาย ICT เพื่อ การศึกษา การจัดสรรงบประมาณดาน ICT ใหแกโรงเรียน ที่ครอบคลุมทั้งคาอุปกรณ คาบริการ และคาใชจายในการพัฒนาบุคลากรอยางสมดุล สําหรับการศึกษานอกระบบ และการเรียนรูตลอดชีวิต ใหจัดใหมีโครงสรางพื้นฐาน ICT ที่เหมาะสมสําหรับสถาน บริการ เชน หองสมุดประจําทองถิ่น ศูนยสารสนเทศชุมชน เพื่อใหสามารถใหบริการ อิเล็กทรอนิกสและเสริมสรางการเรียนรูใหแกบุคคลกลุ่มอื่นๆ ในชุมชน ควบคู่ไปกับการ สงเสริมการพัฒนาเนื้อหาที่เปนภาษาไทยและเนื้อหาทีเกี่ยวกับทองถิ่น (local contents) ที่เปนประโยชนตอการศึกษา การงานอาชีพ สุขภาพและสาธารณสุข ของชุมชน
(5) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโครงขายและทรัพยากร โดยมีการจัดทํา ฐานขอมูลโครงขายในประเทศ เพื่อนํามาประกอบในการกําหนดพื้นที่สําหรับบริการอยางทั่วถึง (USO) และใหมีการศึกษาเพื่อติดตามความกาวหนาและแนวโนมของ เทคโนโลยี รวมทั้งเพื่อวิเคราะหเปรียบเทียบเทคโนโลยีทางเลือกตางๆ เปนระยะๆ อยาง ตอเนื่อง และเพื่อรองรับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เชน แนวทางการ เปลี่ยนผานระบบการแพรภาพกระจายเสียงจากระบบอนาลอกไปสูระบบดิจิทัล (Digital broadcasting) และการนําคลื่นความถี่มาจัดสรรสําหรับกิจการ/บริการที่เหมาะสมเพื่อลด ปญหาความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงสารสนเทศและความรู (Digital divide) หรือผลกระทบ ของการหลอมรวมของเทคโนโลยี รวมถึงกําหนดนโยบายคุมครองผูบริโภคที่สอดคลองกับ
มาตรฐานสากลยุทธศาสตรที่ 4: การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการสราง ธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ (e-Governance)
มุงเนนใหหนวยงานของรัฐใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการสราง ธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการ สามารถตอบสนองตอการใหบริการที่เนนประชาชนเปน ศูนยกลางไดอยางมีประสิทธิ ภาพและประสิทธิผล โปรงใส เปนธรรม และสงเสริมการมีสวนรวมของ ทุกภาคสวนทีเกี่ยวของโดยมีมาตรการสํา คัญประกอบดวย
(1) สรางความเขมแข็งของหนวยงานกลางที่รับผิดชอบการกําหนดกรอบแนวทาง ปฏิบัติและมาตรฐานที่จําเปนสําหรับการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสของรัฐแบบ บูรณาการ โดยใหมีหนวยงานกลางที่รับผิดชอบการออกแบบสถาปตยกรรมของระบบ ICT ของรัฐ (Government ICT Architecture) ทําหนาที่กําหนดกรอบนโยบายที่เกี่ยวกับ ขอมูลและการสื่อสารขอมูล และกําหนดมาตรฐานที่จําเปน และสอดคลองกับ มาตรฐานสากล เพื่อใหทกหนวยงานสามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลกันไดอยางมี เอกภาพและประสิทธิภาพ และเรงรัดการจัดตั้งกรมแผนที่พลเรือน ตามพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ใหแลวเสร็จภายในป พ.ศ. 2552 เพื่อเปน หนวยงานรับผิดชอบดานโครงสรางพื้นฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ (National Spatial Data Infrastructure: NSDI) ของประเทศ เพื่อสร้างกลไกให้เกิดการใช้สารสนเทศ รวมกันไดโดยเร็ว
(2) ใหทุกกระทรวงดําเนินการเพื่อพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสของรัฐแบบบูรณาการ โดยใหทุกหนวยงานปรับปรุงระบบขอมูล และระบบบริหารจัดการ ใหสามารถเชื่อมโยงกับระบบของภาครัฐที่มีการดําเนินการอยู เชน TH e-GIF, NSDI และ GIN และให ทุกหนวยงานใช ICT เปนชองทางหนึ่งในการสงเสริมและสนับสนุนใหภาคประชาสังคม เขามามีสวนรวมในการบริหารราชการแผนดิน
(3) สรางความเขมแข็งดาน ICT แกหนวยงานของรัฐในภูมิภาคในระดับจังหวัดและ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และจัดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีบุคลากรที่ รับผิดชอบงานดาน ICT เพื่อประสานงานกับหนวยงานกลางในการเรียนรูมาตรฐานตางๆ รวมทั้งการบริหารทรัพยากร และผลักดันการดําเนินงานดาน ICT ที่สอดคลองกับแนว ปฏิบัติของสวนกลาง และสรางกลไกใหมีการทํางานรวมกับ CIO จังหวัด เพื่อใหเกิดการ บังคับใชมาตรฐานตางๆ ในการพัฒนา ICT ตั้งแตระดับจังหวัดลงไปถึงองคกรปกครองสวนทองถิ่น
ยุทธศาสตรที่ 5: ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ICT เพื่อสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและรายไดเขาประเทศ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการ ICT ไทย โดยมุงเนนการสรางงานวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมภายในประเทศ ทั้งจากหนวยงานภาครัฐ ภาคการศึกษา และภาคเอกชน ใหมีความสามารถในการผลิตเทคโนโลยีในระดับตนนำเพิ่มขึ้น สงเสริมมการถายทอดเทคโนโลยีที่เกิดจากงานวิจัยสูผู้ประกอบการ และสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการประกอบธุรกิจ โดยใหความสําคัญเปนพิเศษกับการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟตแวรและดิจิทัลคอนเทนทใหสามารถสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและรายไดเขาประเทศมากขึ้น สวนในอุตสาหกรรมอื่นที่ไทยมีศักยภาพ อาทิ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส (ระบบสมองกลฝงตัว หรือการออกแบบขั้นสูง) และอุตสาหกรรมอุปกรณโทรคมนาคม ในชวงแผนนี้จะเนน เรื่องการวิจัยพัฒนาเพื่อมุงสูขีดความสามารถในระดับตนทุนต่ำ เพื่อพัฒนาเปนอุตสาหกรรมที่สรางรายไดเขาประเทศในระยะตอไป โดยมาตรการทีสําคัญของยุทธศาสตรนี้ประกอบดวย ่
(1) การสนับสนุนดานเงินทุน/เงินชวยเหลือเพื่อสงเสริมใหเกิดผูประกอบการรายใหม โดยเฉพาะอยางยิ่งเงินชวยเหลือสําหรับการทําวิจัยและพัฒนา เพื่อใหไดโครงการและ ตนแบบภาคอุตสาหกรรม พรอมนี้ รัฐควรสนับสนุนการลงทุนในการจัดหาเครื่องมือ ทรัพยสินทางปญญา และสถานที่กลาง ทีมีการจัดบริการใหคําปรึกษาทางธุรกิจ เพื่อใหผูประกอบการสามารถมาเชาใชบริการ เพื่อการพัฒนาและสรางสรรคงาน เพื่อเปนการลดความเสี่ยงและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันแกผูประกอบการ (2) การยกระดับมาตรฐานสินคาและบริการ ICT ไทยสูระดับสากล โดยสนับสนุนงานวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมในอุตสาหกรรม ICT เพื่อสรางสรรคหรือตอยอดการพัฒนา ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีของผูประกอบการไทย ใหสามารถผลิตเทคโนโลยีตนน้ำ เพิ่มมากขึ้น สรางกลไกที่อํานวยความสะดวกใหกับผูคิดคนสิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมใหม ในการจดสิทธิบัตรทั้งในและตางประเทศ ควบคูไปกับกระบวนการคุมครองทรัพยสิน ทางปญญาทีมีประสิทธิภาพ และสามารถบังคับใชไดจริง เพื่อสรางแรงจูงใจใหผูประกอบการพัฒนาและสรางนวัตกรรมอยางตอเนื่อง รวมทั้งสรางความแข็งแกรงใหกับสถาบันและกลไกในการตรวจสอบและรับรองคุณภาพสินคาและบริการ ICT ที่ผลิตในประเทศไทย
(3) การสรางโอกาสทางการตลาดและโอกาสในการแขงขันสําหรับผูประกอบการไทย ทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดตางประเทศโดยสนับสนุนการจัดตั้งสภา ICT เพื่อสงเสริมใหเกิดการรวมตัวและเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับกลุมผูประกอบการภาคเอกชน ทั้งนี้ ในการสรางตลาดภายในประเทศ ใหใชตลาดภาครัฐเปนตัวนํา และไมให กําหนดเงื่อนไขในระเบียบการจัดซื้อจัดจางหรือกําหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑและบริการใน TOR ของโครงการดาน ICT ของภาครัฐที่เปนการกีดกันผูประกอบการใน ประเทศ สวนการรุกตลาดตางประเทศของภาคเอกชน ใหรัฐใหการสนับสนุนการนําเสนอผลงานของผูประกอบการไทยในเวทีตางประเทศ และสนับสนุนการจัดทําขอมูลเพื่อใชในการวางแผนสงเสริมการตลาดทั้งภายในและตางประเทศ
(4) การสงเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม ICT ทั้งภายในประเทศและจากตางประเทศ โดยพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT ในประเทศใหมีการกระจายอยางทั่วถึง เพื่อดึงดูดการลงทุนในอุตสาหกรรม ICT `ในภูมิภาคตางหรือในจังหวัดศูนยกลางความเจริญในภูมิภาค รวมถึงสรางกลไก/มาตรการจูงใจที่เอื้อตอการลงทุนในอุตสาหกรรม ICT จาก ตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีระดับสรางกลไกที่เอื้อใหเกิดการถายทอดความรูและเทคโนโลยีจากบริษทขามชาติมายังผูประกอบการหรือบุคลากรไทย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น