วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2552

(2)สังเคราะห์ความรู้จากแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552-2556


2. บริบทของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย
2.1 แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแผนใตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ประเทศไทยไดยึดแนวทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) เปนแผนหลักในการชีทิศทางการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวม ปรัชญา ในการจัดทําแผนฉบับนี้คือ การนําเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และแนวคิดเรื่องคนเปนศูนยกลาง ในการพัฒนา มาประยุกตกับการจัดทําแผน โดยมีวสัยทัศนคือ “มุงพัฒนาสูสังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน(Green and Happiness Society) คนไทยมีคุณธรรมนําความรอบรู รู้เทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชน เขมแข็ง สังคมสันติสข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเปนธรรม สิ่งแวดลอมมีคุณภาพและ ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยูภายใตระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดํารงไวซึ่งระบอบ ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข และอยู่ในประชาคมโลกไดอยางมีศักดิศรี” โดยมียุทธศาสตรในการผลักดันเพื่อใหเกิดความสําเร็จตามเปาหมายของแผนทั้งหมด 5 ยุทธศาสตร ไดแก
1. การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู เพื่อพัฒนาคนใหมี สุขภาวะดี จิตใจ อารมณ กาย สติปญญามีความสมดุล เขาถึงหลักศาสนา มีคุณธรรม นําความรอบรู มีสัมมาชีพ มีความมั่นคงในชีวิต
2. การสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมเปนฐานที่มั่นคงของประเทศ เพื่อพัฒนาชุมชน เขมแข็ง สงบ สันติ และแกปญหาความยากจนใหชุมชนอยูเย็นเปนสุข
3. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน เพื่อใหเศรษฐกิจมีคุณภาพ โครงสราง เศรษฐกิจมีความสมดุลมากขึ้น มีเสถียรภาพและความเปนธรรมทางเศรษฐกิจ
4. การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากร และคุณภาพสิงแวดลอม เพื่อใหเกิดการรักษาความอุดมสมบูรณของฐานทรัพยากร รักษา คุณภาพสิ่งแวดลอม และวางรากฐานการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการพัฒนาบนฐาน ความหลากหลายทางชีวภาพ
5. การเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ โดยมุงหวังใหธรรมาภิบาลของ ประเทศในทุกภาคสวนดีขึ้น ตลอดจนสรางองคความรูประชาธิปไตย
ทั้งนี้ ในแผนพัฒนาฯ ดังกลาว ไดกลาวถึงการพัฒนาและสงเสริมการใช ICT ไวในแนวทางการ พัฒนาหลายดาน อาทิ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT เพื่อสนับสนุนการปรับโครงสรางการผลิต การใช ICT เพื่อการเขาถึงแหลงเรียนรูเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต การพัฒนาการใหบริการและการ ดําเนินงานของรัฐในรูปแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส เปนตน

นอกจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติแลว ยังมีนโยบายและแผนระดับชาติอื่นๆ ที่ถูก จัดทําขึ้นโดยหลายหนวยงาน เพื่อรวมขับเคลื่อนประเทศไทยสูสังคมและเศรษฐกิจฐานความรู รวมถึง นโยบายรัฐบาล ซึ่งแผนและนโยบายดังกลาว แมจะมีจุดเนนที่ตางกันตามหนาที่และความรับผิดชอบ ขององคกร/หนวยงานที่รับผิดชอบและวัตถุประสงคของการจัดทํา แตแนวทางสวนใหญก็จะสอดคลอง ไปในทิศทางเดียวกัน อีกทั้งมีการพูดถึงนัยตอการพัฒนาหรือบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารในการพัฒนาไวคอนขางชัดเจน โดยแนวนโยบายหลักๆ ที่กลาวถึงในเกือบทุกแผนมีดังนี้
• การพัฒนาคนหรือทรัพยากรมนุษย เนื่องจากคนเปนรากฐานในการพัฒนาประเทศ
• การพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม (เกษตร อุตสาหกรรมการผลิต และบริการ)
• การพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาและบริหาร ทองถิ่นดวยตนเอง รวมถึงฟนฟูและสืบสานคุณคาความหลากหลายของวัฒนธรรมไทย ทั้งที่เปนวิถีชวิตประเพณี คานิยมที่ดีงาม
• การสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม โดยเนนการแกปญหาดาน สิ่งแวดลอมไวหลายๆ เรื่อง รวมถึงการเตือนภัยจากภัยพิบติทางธรรมชาติ
• การปรับปรุงการบริหารจัดการ โดยมุงเนนที่การบริหารงานอยางโปรงใสทั้งภาครัฐและ เอกชน รวมถึงใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม
• การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และการจัดตั้งองคกร/สถาบันเฉพาะทาง เพื่อขับเคลื่อนการ พัฒนา

2.2 กรอบนโยบาย IT 2010 และแผนแมบท ICT ฉบับที่ 1
ในการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ฉบับที่ 2 ไดคํานึงถึงกรอบนโยบาย
เทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ. 2544-2553 ของประเทศไทย หรือ IT 2010 ซึ่งคณะรัฐมนตรีไดเห็นชอบ
เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2545 โดยกรอบนโยบาย IT 2010
กรอบนโยบาย IT 2010 ไดถูกถายทอดไปสูแผนกลยุทธ คือแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของประเทศไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2545-2549 ที่มีการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค กลยุทธ และแผนงาน/โครงการไวชัดเจน โดยมีเปาหมายที่สําคัญดังนี้
1) พัฒนา/ยกระดับทางเศรษฐกิจของประเทศโดยใช ICT
2) ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ICT ของประเทศ
3) พัฒนาทรัพยากรมนุษยโดยเพิ่มการประยุกตใช ICT ในดานการศึกษา และฝกอบรม
4) สรางความเขมแข็งของชุมชนในชนบทเพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน
แผนแมบท ICT ฉบับที่ 2 จึงไดรับการพัฒนาขึ้นโดยพิจารณาถึงความตอเนื่องในเชิงนโยบาย
ภายใตกรอบ IT 2010 รวมถึงเรงรัดแกไขจุดออนที่สงผลใหแผนแมบท ICT ฉบับที่ 1 ไมสามารถบรรลุ
เปาหมายไดอยางสมบูรณ

2.3 สถานภาพการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย
การพัฒนา ICT ของประเทศไทยในเวทีโลกโดยภาพรวม เมื่อพิจารณาจากดัชนีชี้วัดระดับ สากล อาทิ Networked Readiness Ranking, e-Readiness Ranking พบวาจัดอยูในระดับปานกลาง แตเมื่อเปรียบเทียบประเทศไทยกับประเทศอื่นในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศเพื่อนบาน อยางสิงคโปรและมาเลเซีย พบวาประเทศเพื่อนบานมีอันดับการพัฒนา ICT ที่สูงกวาประเทศไทย ในทุกๆ ดัชนี
ปจจัยสําคัญที่ฉุดรั้งอันดับการพัฒนา ICT ของประเทศไทยในทุกๆ ดัชนี คือ ความพรอม ดานโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งยังมีไมเพียงพอและยังแพรกระจายไมทั่วถึง ทําใหการพัฒนาและการใชประโยชนของ ICT เพื่อตอยอดองคความรู การพัฒนาธุรกิจ การใหบริการ ของภาครัฐ ยังไมมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเทาทีควร ดังนั้น การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน ICT จึงเปนประเด็นสําคัญประการหนึ่งที่แผนแมบท ICT ฉบับที่ 2 ตองพิจารณาแกไขปญหา

3. สรุปหลักการและประเด็นที่สําคัญของแผนแมบทฯ ฉบับที่ 2
1. มีเปาหมายในเชิงการพัฒนาสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู ที่สอดคลองกับทิศ ทางการพัฒนาประเทศตามที่กําหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งถือเปน แผนพัฒนาฯ หลักของประเทศ
2. สานความตอเนื่องทางนโยบายจาก IT2010 และ “แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2545-2549” โดยยังใหความสําคัญกับการพัฒนา และประยุกตใช ICT ในดานการคา (e-Commerce) และอุตสาหกรรม (e-Industry) (ในยุทธศาสตรที่ 5 และ 6 ของแผนฯ), ดานการศึกษาและการพัฒนาคนและสังคม (e-Education and e-Society) (ในยุทธศาสตรที่ 1 และ 3) และในการดําเนินงานของภาครัฐ เพื่อสนับสนุนการสรางธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการ (ในยุทธศาสตรที่ 4) นอกจากนี้ ไดใหความสําคัญกับการพัฒนาตอยอดจากที่ไดดาเนินมาแลวในชวงแผนฯ ฉบับที่ 1 แตยังไมบรรลุเปาหมาย เพื่อใหเกิดผลที่เปนรูปธรรมโดยเร็ว

3. มุงเนนการแกไขสิ่งที่เปนจุดออนที่สําคัญ 2 ประการเปนลําดับแรก ไดแก 1) การพัฒนาคน ใหมีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรอบรู้สารสนเทศ (Information Literacy) (ดูความหมาย ในสวนถัดไป) และ 2) การบริหารจัดการ ICT ระดับชาติ ใหยึดหลักธรรมาภิบาล นอกจากนี้ ยังใหความสําคัญกับการเรงพัฒนาโครงขายความเร็วสูงใหมีการกระจายอยางทั่วถึงและ ราคาเปนธรรมเนื่องจากเปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญสําหรับการพัฒนาในสังคมและ เศรษฐกิจฐานความรูและนวัตกรรม ที่อาศัย ICT เปนพลังขับเคลื่อนหลัก และเปนสิ่งที่ ประเทศไทยยังมีระดับการพัฒนาที่ดอยกวาหลายๆ ประเทศ
4. ใชแนวปฏิบัติที่สอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหเกิดการพัฒนาที่สมดุลดวย
การสรางความเขมแข็งจากภายใน โดย
- เรงพัฒนาคนใหมีความสามารถที่จะสรางของเพื่อใชเองได และพัฒนาอุตสาหกรรม ภายในประเทศใหมีความเขมแข็ง โดยการสงเสริมการวิจัยและพัฒนา และการสงเสริม ผูประกอบการ เพื่อใหสามารถพึ่งตนเองไดในระยะยาว
- คํานึงถึงความพรอมดานทรัพยากร และการใชอยางคุมคา
5. ใหความสําคัญกับการพัฒนาและการใช ICT เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งและความ ไดเปรียบในการแขงขันของภาคการผลิตและบริการที่ไทยมีศักยภาพ โดยเฉพาะในภาค การเกษตร การทองเที่ยว และการบริการดานสุขภาพ โดยใชประโยชนจากภูมิปญญา ทองถิ่น วัฒนธรรมไทย และเอกลักษณของไทย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น