วันพุธที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2552

(3)สังเคราะห์ความรู้จากแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552-2556


4. วิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมาย

4.1 วิสัยทัศน
“ประเทศไทยเปนสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) ดวย ICT”
“สังคมอุดมปญญา” ในที่นี้หมายถึงสังคมที่มีการพัฒนาและใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารอยางชาญฉลาด โดยใชแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับ มีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรอบรูสารสนเทศ (Information literacy) สามารถเขาถึง และใช สารสนเทศอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณและรูเทาทัน กอใหเกิดประโยชนแกตนและ สังคม มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล (Smart Governance) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสูเศรษฐกิจและสังคมฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืนและมั่นคง

4.2 พันธกิจ
(1) พัฒนากําลังคนใหมีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอ ทั้งบุคลากรดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Professionals) และบุคลากรในสาขาอาชีพอื่นๆ ทุกระดับ ที่มีความรูความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณและรูเทาทัน อยางมีคณธรรม จริยธรรม เพื่อรวมขับเคลื่อนประเทศไทยสู สังคมและเศรษฐกิจฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืนและมั่นคง
(2) พัฒนาโครงขายสารสนเทศและการสื่อสารความเร็วสูงที่มีการกระจายอยางทั่วถึง มี บริการที่มีคุณภาพ และราคาเปนธรรม เพื่อใหเปนโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศหลัก ที่ทุกภาคสวนสามารถใชในการเขาถึงความรู สรางภูมิปญญา และภาคธุรกิจและ อุตสาหกรรมสามารถใชในการสรางมูลคาเพิ่มแกภาคเศรษฐกิจของประเทศ
(3) พัฒนาระบบบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล โดยมี กลไก กฎระเบียบ โครงสรางการบริหารและการกํากับดูแล ที่เอื้อตอการพัฒนาอยาง บูรณาการ มีความเปนเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาค สวนในสังคม เพื่อสนับสนุนใหเกิดธรรมาภิบาลในระบบบริหารจัดการประเทศ สอดคลองกับเปาหมายที่กําหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

4.3 วัตถุประสงค
(1) เพื่อพัฒนากําลังคนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Professional) ใหมี ปริมาณและคุณภาพตรงกับความตองการของตลาด และบุคลากรในสาขาอาชีพตางๆ ทุกระดับ รวมถึงประชาชนทั่วไป ใหมีความรูความสามารถในการสรางสรรค พัฒนา และใชICT อยางมีประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณและรูเทาทัน เพื่อเปนรากฐานการ พัฒนาประเทศไทยสูสังคมและเศรษฐกิจฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืนและมั่นคง
(2) เพื่อสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยใช แนวปฏิบติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เนนความมีเอกภาพ การบูรณาการ การใช ทรัพยากรอยางคุมคา และการมีสวนรวมของทุกภาคสวนที่เกียวของ เพื่อใหมีการ จัดสรรผลประโยชนจากการพัฒนาสูประชาชนในทุกภาคสวนอยางเปนธรรม โดยใช กลไกความเปนหุนสวนระหวางภาครัฐและภาคเอกชน (Public-Private Partnership) อยางเหมาะสม
(3) เพื่อสนับสนุนการปรับโครงสรางการผลิตสูการเพิ่มคุณคา (Value Creation) ของสินคา และบริการบนฐานความรู้และนวัตกรรม โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(4) เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนและปจเจกบุคคล โดยการเขาถึงและใช ประโยชนจากสารสนเทศ ในกิจการของครัวเรือนและชุมชน รวมถึงในการแสวงหา ความรู สรางภูมิปญญา การมีสวนรวมในระบบการเมืองการปกครอง และในการ ดํารงชีวิตประจําวัน เพื่อนําไปสูการพึ่งตนเองและลดปญหาความยากจน โดยเฉพาะใน กลุมผูดอยโอกาส ผูพิการ และผูสูงอายุ
(5) เพื่อเสริมสรางศักยภาพของธุรกิจและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร โดยเนนการเพิ่มมูลคาเพิ่ม (Value-Added) ในประเทศ การวิจัยและ พัฒนาและการใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถิ่น วัฒนธรรมไทย และเอกลักษณของ คนไทย เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสูสังคมและเศรษฐกิจฐานความรูและนวัตกรรมอยาง ยั่งยืน

4.4 เปาหมาย
(1) ประชาชนไมน้อยกวารอยละ 50 ของประชากรทั้งประเทศ มีความรอบรู สามารถเขาถึง สรางสรรคและใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณ รูเทาทัน มีคุณธรรมและจริยธรรม(Information Literacy) กอเกิดประโยชนตอการเรียนรู การทํางาน และการดํารงชีวิต ประจําวัน
(2) ยกระดับความพรอมทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ ขึ้นอยางนอย 15 อันดับ ใน Networked Readiness Rankings ภายในป พ.ศ. 2556
(3) เพิ่มบทบาทและความสําคัญของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีสัดสวนมูลคาเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT ตอ GDP ไมนอยกวารอยละ 20 ภายในป พ.ศ. 2556

5. ยุทธศาสตรการพัฒนา

เพื่อใหบรรลุซึ่งวัตถุประสงคและเปาหมายของการพัฒนา ICT อยางเปนรูปธรรมภายใต เงื่อนไขที่เปนจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคามของการพัฒนา ICT ของประเทศไทย แผนแมบทฯ ฉบับนี้ไดกําหนยุทธศาสตร์หลักขึ้น 6 ดาน โดยภาครัฐ เอกชน และประชาชน จะมีสวนรวมกัน ดําเนินงานใหเปนไปตามเนือหาสาระของแผนในชวงพ.ศ. 2552-2556 เพื่อนํา ICT มาใชประโยชน ในการสรางศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง และเพื่อสามารถแขงขันในโลกสากลได รวมถึงการสราง สังคมแหงภูมิปัญญาและการเรียนรู อันนําไปสูคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นขอประชาชนไทยโดยทั่วกัน โดยยุทธศาสตรทั้ง 6 ดาน ไดแก
ยุทธศาสตร์ที่1. ยุทธศาสตรการพัฒนากําลังคนดาน ICT และบุคคลทั่วไปใหมีความสามารถในการ สรางสรรค ผลิต และใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณและรูเทาทัน มีสาระสําคัญเพื่อเรงพัฒนากําลังคนที่มีคุณภาพและปริมาณเพียงพอที่จะรองรับการพัฒนา ประเทศสูสังคมฐานความรูและนวัตกรรม ทั้งบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Professional) และบุคลากรในสาขาอาชีพตางๆ รวมถึงเยาวชน ผูดอยโอกาส ผูพิการ และประชาชน ทุกระดับ ใหมีความรูความสามารถในการสรางสรรค ผลิต และใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมี ประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม วิจารณญาณ และรูเทาทัน (Information Literacy) กอใหเกิด
ประโยชนแกตนและสังคมโดยรวม โดยมีมาตรการที่สําคัญแบงออกเปน 3 กลุมหลัก

(1) การพัฒนาบุคลากรเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Professional) ประกอบดวย มาตรการยอย 2 กลุมคือ
(1.1) พัฒนาผูที่กําลังศึกษาอยูในระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาใหมีทักษะและคุณภาพตรง กับความตองการของภาคอุตสาหกรรม โดยมีมาตรการที่คัญคือ สนับสนุนการพัฒนาอาจารย ดาน ICT ในสถาบันการศึกษาใหสามารถพัฒนาองคความรูอยางตอเนื่องและสามารถทําวิจัยและพัฒนาในสาขา ICT ขั้นสูง มีกลไกใหอาจารยทํางานใกลชิดกับผู้ประกอบการเพื่อเขา ใจความตองการของภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น ปรับปรุงรูปแบบ/วิธีการในการจัดการเรียนการ สอนในสถาบันการศึกษาระดับปริญญาตรีและโทใหเนนการปฏิบัติงานจริงกับ ภาคอุตสาหกรรม สงเสริมใหมีการนํา open source software มาใชเปนเครื่องมือในการเรียน การสอน และการวิจัยตอยอดเพื่อสงเสริมใหเกิดนักพัฒนารุนใหม สําหรับการพัฒนาเพื่อเพิ่ม ปริมาณและคุณภาพของบุคลากร ICT ที่มีทักษะสูง ซึ่งประเทศไทยยังขาดแคลนนั้น ใหจัดตั้ง มหาวิทยาลัยหรือสถาบันเฉพาะทางดาน ICT (โดยอาจเปนการจัดตั้งใหมหรือยกระดับจาก สถาบันการศึกษาที่มีอยู) และสนับสนุนใหบุคลากรที่จบการศึกษาในสาขาอื่นๆ ไดมีโอกาส เขาศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนสายวิชาชีพเปนบุคลากรดาน ICT
(1.2) พัฒนาบุคลากร ICT ที่ปฏิบัติงานในภาคอุตสาหกรรมอยูในปจจุบน (ICT Workforce) ใหมีความรู ทักษะ และศักยภาพสูงขึ้น โดยสรางแรงจูงใจในการเขารับการฝกอบรมและ สอบมาตรฐานวิชาชีพที่มีการกําหนดไวในระดับสากล และกําหนดกลไกเพื่อใหเกิดการ ถายทอดเทคโนโลยีและองคความรูจากบริษัทขามชาติที่เขารวมโครงการ ICT ของภาครัฐ สูผูประกอบการไทย สรางแรงจูงใจใหผูประกอบการลงทุนในการพัฒนาบุคลากร ICT

(2) การพัฒนาบุคลากรในสาขาวิชาชีพอื่นๆ และบุคคลทั่วไป ประกอบดวย
(2.1) สงเสริมใหมีการนํา ICT มาใชเปนเครื่องมือในการเรียนการสอนในการศึกษาในระบบ ทุกระดับมากขึ้น แตมุงเนนที่การศึกษาขั้นพื้นฐานเปนสําคัญ โดยพัฒนาทักษะดาน ICT ใหแก ครู ควบคูไปกับการปรับหลักสูตรการเรียนการสอนที่เนนการพัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห แกปญหาโดยใช ICT เปนเครื่องมือ ในขณะเดียวกัน ตองใหมีการเรียนการสอน เกี่ยวกับจริยธรรมในการใช ICT ในหลักสูตรภาคบังคับ ในทุกระดับชั้นการศึกษา และตอง สงเสริมการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส การจัดทําแหลงเรียนรูในโรงเรียน รวมถึงการสงเสริมใหเกิดชุมชนออนไลนของนักเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู การแสดง ความคิดเห็น ทั้งนี้ในการดําเนินงานเพื่อสงเสริมกิจกรรมการเรียนรูตางๆ ควรใชกลไกความ เปนหุนสวนระหวางภาครัฐแลภาคเอกชน (Public-Private Partnership: PPP) และมีการ ประเมินผลการดําเนินงานเปนระยะ
(2.2) พัฒนาการเรียนรู ICT นอกสถาบันการศึกษาเพื่อสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต โดยจัด ใหมีแหลงเรียนรู ICT ของชุมชนที่มีสื่ออิเล็กทรอนิกสทหลากหลาย มีการฝกอบรมใหแก ผูใชบริการ มีบริการเพื่ออํานวยความสะดวกในการเขาถึงแหลงความรู/ขอมูลทั้งจากสวนกลาง และขอมูลทองถิ่นที่จะเปนประโยชนแกอาชีพและการดํารงชีวิตประจําวันแกประชาชน พรอม ทั้งสงเสริมใหมีการพัฒนาฐานขอมูลและโปรแกรมประยุกตที่เปนประโยชนตอการพัฒนาอาชีพ และการดํารงชีวิตประจําวัน ที่ใชงานและสืบคนงายสําหรับคอมพิวเตอรและโทรศัพทเคลื่อนที่
(2.3) พัฒนาทักษะ ICT แกแรงงานในสถานประกอบการ เพื่อใหสามารถใชประโยชนจาก ICT ในการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางาน โดยการสรางแรงจูงใจแกสถาน ประกอบการในการลงทุนพัฒนาความรู/ทักษะ ICT แกพนักงาน รวมถึงสงเสริมการพัฒนา ระบบ e-Learning สําหรับการเรียนรู ICT
(2.4) พัฒนาการเรียนรู ICT แกผูดอยโอกาส ผูพิการ และผูสูงอายุ การจัดทําและเผยแพร อุปกรณ ICT ทั้งฮารดแวร ซอฟตแวร เทคโนโลยีสิ่งอํานวยความสะดวก สื่อการเรียนรู เนื้อหา สาระดิจิทัลสําหรับผูดอยโอกาสกลุมตางๆ และใชมาตรการตางๆ เพื่อสรางโอกาสให ผูดอยโอกาสเหลานั้นสามารถเขาถึงสารสนเทศไดอยางเทาเทียม รวมถึง รวมถึงการทําวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีสําหรับผูพิการ และการฝกอบรมความรูดาน ICT แกผูสูงอายุ
(2.5) พัฒนาความรูและทักษะดาน ICT แกบุคลากรภาครัฐ โดยมีการกําหนดมาตรฐาน ความรู ICT สําหรับบุคลากรภาครัฐทุกระดับ และจัดใหมีกลไกการผลักดันใหเกิดการพัฒนา บุคลากรภาครัฐเพื่อใหมีความรู ความสามารถและทักษะที่สอดคลองกับมาตรฐานตําแหนง รวมถึงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาความรูความสามารถดาน ICT ใหแกบุคลากรภาครัฐ ทั้งนี้ ใหมี แรงจูงใจ คาตอบแทน และโอกาสความหนาในการทํางานที่เหมาะสม

(3) มาตรการสนับสนุนอื่นๆ เพื่อเสริมสรางการพัฒนา “คน” ในวงกวาง เชน การพัฒนา ระบบฐานขอมูลกําลังคนดาน ICT ของประเทศ เพื่อประกอบการวางแผนดานการพัฒนา กําลังคน สงเสริมสมาคม/ชมรม/เครือขายสงเสริมการใช ICT อยางสรางสรรค สงเสริมการ แปลหนังสือที่มีประโยชนจากตางประเทศเปนภาษาไทยและเผยแพรหลากหลายชองทาง เปนตน
ยุทธศาสตรที่ 2: การบริหารจัดการระบบ ICT ระดับชาติอยางมีธรรมาภิบาล (National ICT Governance)
มีวัตถุประสงคเพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการและการกํากับดูแล กลไกและกระบวนการ
ในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ ใหมีธรรมาภิบาล โดยเนน
ความเปนเอกภาพ การใชทรัพยากรอยางคุมคา และการมีสวนรวมของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ
โดยมีมาตรการ 4 กลุม ประกอบดวย
(1) ปรับปรุงโครงสรางการบริหารและการจัดการ ICT ระดับชาติ เพื่อใหมีหนวยงาน กลางภายในกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่รับผิดชอบในการผลักดัน วาระดาน ICT ของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งการกํากับดูแลและผลักดันแผนแมบทฯ ไปสูการปฏิบัติ และเสริมสรางความเขมแข็งของหนวยงานที่ทําหนาที่เปนหนวยธุรการ ของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อใหสามารถปฏิบัติหนาที่ตาม พระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544 และ 2551 ไดอยาง มีประสิทธิภาพ สรางกลไกในการทํางานเพื่อใหเกิดความรวมมือและการบูรณาการ ระหวางหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของกับการพัฒนา ICT ของประเทศ และจัดตั้งจัดตั้ง สภา ICT เพื่อเปนองคกรที่เปนตัวแทนของภาคเอกชน ที่รวมผลักดันการทํางานแบบPPP ในการขับเคลื่อนวาระดาน ICT ของประเทศ
(2) ปรับปรุงกระบวนการจัดทํา/เสนองบประมาณ และกระบวนการพิจารณาจัดสรร งบประมาณดาน ICT ของรัฐ เพื่อใหเกิดการใชจายอยางคุมคา มีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซอน และสอดคลองกับทิศทาง/แนวทางที่กาหนดในแผนแมบท ICT
(3) พัฒนา และ/หรือปรับปรุงกฎหมาย/กฎระเบียบที่เกี่ยวของ รวมถึงกลไกการบังคับใชกฏหมาย/กฏระเบียบ เพื่อใหเอื้อตอการใช ICT และการทําธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส รวมถึงปรับปรุงวิธีการจัดซื้อจัดจางผลิตภัณฑ/ระบบงาน ICT ของภาครัฐ ใหมุงเนนความสําเร็จของงานและคุณภาพมากกวาการเปรียบเทียบดานราคาอยางเดียว และใหสามารถจางสถาปนิก นักออกแบบ หรือที่ปรึกษา เขามาชวยในกระบวนการจัดซื้อ จัดจางงาน/โครงการดาน ICT
(4) ปรับปรุงระบบฐานขอมูลตัวชี้วัดสถานภาพการพัฒนา ICT ของประเทศ เพื่อ สนับสนุนการติดตามประเมินผลการพัฒนา ICT ของประเทศ และการดําเนินการตามแผน แมบท ICT

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น