วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2552

รายงานวิชา : การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ


รายงาน
วิชา : การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
หลักสูตรประกาศนียบัติบัณฑิต การบริหารการศึกษา

มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สมคิด ดวงจักร์


เรื่อง
...

(1)สังเคราะห์ความรู้จากแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552-2556

สรุปองค์ความรู้จาก
แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 2) ของประเทศไทย
พ.ศ. 2552-2556
--------------------------
1. ความนํา
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ. 2544-2553 ของประเทศไทย (IT 2010) ซึ่งไดให ความสําคัญ ตอบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่มีตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยมุงเนนการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและสังคมไทยสูสงคมแหงภูมปญญาและการเรียนรู ไดถูกนํามาเปนกรอบในการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2545-2549 ซึ่งคณะรัฐมนตรีได ใหการเห็นชอบเมื่อวันที่ 25 กันยายน 2545 เพื่อให ทุกกระทรวง ทบวง กรม และรัฐวิสาหกิจ ใชเปนแนวทางในการจัดทําหรือปรับแผนแมบทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของหนวยงานใหสอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งตอมา คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2550 ใหขยายระยะเวลาในการบังคับใชแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย ฉบับที่ 1 ออกไปจนถึงป พ.ศ. 2551 และ กระทรวงเทคโนโล ยีสารสนเทศและการสือสารไดรวมมือกับศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ คอมพิวเตอรแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เรงรัดการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ฉบับที่ 2 ของประเทศไทย พ.ศ. 2552-2556 ขึ้น
แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ฉบับที่ 2 ไดสานความตอเนื่องทางนโยบาย จาก IT2010 และ “แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2545-2549” ควบคูไปกับการกําหนดนโยบายใหมและการปรับใหมจุดเนนในบางเรื่องที่เดนชัดขึ้น จากแผนฯ ฉบับแรก เพื่อตอบรับการเปลียนแปลงทางเทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคมที่เปนทั้งโอกาส และความทาทายของประเทศไทย และในขณะเดียวกัน เพื่อมุงแกไขสวนที่ยังเปนจุดออน และตอยอด สวนที่เปนจุดแข็งของประเทศ เพื่อใหประเทศไทยสามารถใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด อันจะชวย นําไปสูการบรรลุเปาหมายของการพัฒนาประเทศตามที่กําหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ ไดในที่สุด

(2)สังเคราะห์ความรู้จากแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552-2556


2. บริบทของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย
2.1 แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแผนใตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ประเทศไทยไดยึดแนวทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) เปนแผนหลักในการชีทิศทางการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวม ปรัชญา ในการจัดทําแผนฉบับนี้คือ การนําเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และแนวคิดเรื่องคนเปนศูนยกลาง ในการพัฒนา มาประยุกตกับการจัดทําแผน โดยมีวสัยทัศนคือ “มุงพัฒนาสูสังคมอยูเย็นเปนสุขรวมกัน(Green and Happiness Society) คนไทยมีคุณธรรมนําความรอบรู รู้เทาทันโลก ครอบครัวอบอุน ชุมชน เขมแข็ง สังคมสันติสข เศรษฐกิจมีคุณภาพ เสถียรภาพ และเปนธรรม สิ่งแวดลอมมีคุณภาพและ ทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน อยูภายใตระบบบริหารจัดการประเทศที่มีธรรมาภิบาล ดํารงไวซึ่งระบอบ ประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข และอยู่ในประชาคมโลกไดอยางมีศักดิศรี” โดยมียุทธศาสตรในการผลักดันเพื่อใหเกิดความสําเร็จตามเปาหมายของแผนทั้งหมด 5 ยุทธศาสตร ไดแก
1. การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู เพื่อพัฒนาคนใหมี สุขภาวะดี จิตใจ อารมณ กาย สติปญญามีความสมดุล เขาถึงหลักศาสนา มีคุณธรรม นําความรอบรู มีสัมมาชีพ มีความมั่นคงในชีวิต
2. การสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมเปนฐานที่มั่นคงของประเทศ เพื่อพัฒนาชุมชน เขมแข็ง สงบ สันติ และแกปญหาความยากจนใหชุมชนอยูเย็นเปนสุข
3. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน เพื่อใหเศรษฐกิจมีคุณภาพ โครงสราง เศรษฐกิจมีความสมดุลมากขึ้น มีเสถียรภาพและความเปนธรรมทางเศรษฐกิจ
4. การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากร และคุณภาพสิงแวดลอม เพื่อใหเกิดการรักษาความอุดมสมบูรณของฐานทรัพยากร รักษา คุณภาพสิ่งแวดลอม และวางรากฐานการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการพัฒนาบนฐาน ความหลากหลายทางชีวภาพ
5. การเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ โดยมุงหวังใหธรรมาภิบาลของ ประเทศในทุกภาคสวนดีขึ้น ตลอดจนสรางองคความรูประชาธิปไตย
ทั้งนี้ ในแผนพัฒนาฯ ดังกลาว ไดกลาวถึงการพัฒนาและสงเสริมการใช ICT ไวในแนวทางการ พัฒนาหลายดาน อาทิ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT เพื่อสนับสนุนการปรับโครงสรางการผลิต การใช ICT เพื่อการเขาถึงแหลงเรียนรูเพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต การพัฒนาการใหบริการและการ ดําเนินงานของรัฐในรูปแบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส เปนตน

นอกจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติแลว ยังมีนโยบายและแผนระดับชาติอื่นๆ ที่ถูก จัดทําขึ้นโดยหลายหนวยงาน เพื่อรวมขับเคลื่อนประเทศไทยสูสังคมและเศรษฐกิจฐานความรู รวมถึง นโยบายรัฐบาล ซึ่งแผนและนโยบายดังกลาว แมจะมีจุดเนนที่ตางกันตามหนาที่และความรับผิดชอบ ขององคกร/หนวยงานที่รับผิดชอบและวัตถุประสงคของการจัดทํา แตแนวทางสวนใหญก็จะสอดคลอง ไปในทิศทางเดียวกัน อีกทั้งมีการพูดถึงนัยตอการพัฒนาหรือบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารในการพัฒนาไวคอนขางชัดเจน โดยแนวนโยบายหลักๆ ที่กลาวถึงในเกือบทุกแผนมีดังนี้
• การพัฒนาคนหรือทรัพยากรมนุษย เนื่องจากคนเปนรากฐานในการพัฒนาประเทศ
• การพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม (เกษตร อุตสาหกรรมการผลิต และบริการ)
• การพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใหประชาชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาและบริหาร ทองถิ่นดวยตนเอง รวมถึงฟนฟูและสืบสานคุณคาความหลากหลายของวัฒนธรรมไทย ทั้งที่เปนวิถีชวิตประเพณี คานิยมที่ดีงาม
• การสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม โดยเนนการแกปญหาดาน สิ่งแวดลอมไวหลายๆ เรื่อง รวมถึงการเตือนภัยจากภัยพิบติทางธรรมชาติ
• การปรับปรุงการบริหารจัดการ โดยมุงเนนที่การบริหารงานอยางโปรงใสทั้งภาครัฐและ เอกชน รวมถึงใหประชาชนเขามามีสวนรวมในกระบวนการเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม
• การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน และการจัดตั้งองคกร/สถาบันเฉพาะทาง เพื่อขับเคลื่อนการ พัฒนา

2.2 กรอบนโยบาย IT 2010 และแผนแมบท ICT ฉบับที่ 1
ในการจัดทําแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ฉบับที่ 2 ไดคํานึงถึงกรอบนโยบาย
เทคโนโลยีสารสนเทศระยะ พ.ศ. 2544-2553 ของประเทศไทย หรือ IT 2010 ซึ่งคณะรัฐมนตรีไดเห็นชอบ
เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2545 โดยกรอบนโยบาย IT 2010
กรอบนโยบาย IT 2010 ไดถูกถายทอดไปสูแผนกลยุทธ คือแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของประเทศไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2545-2549 ที่มีการกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค กลยุทธ และแผนงาน/โครงการไวชัดเจน โดยมีเปาหมายที่สําคัญดังนี้
1) พัฒนา/ยกระดับทางเศรษฐกิจของประเทศโดยใช ICT
2) ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ICT ของประเทศ
3) พัฒนาทรัพยากรมนุษยโดยเพิ่มการประยุกตใช ICT ในดานการศึกษา และฝกอบรม
4) สรางความเขมแข็งของชุมชนในชนบทเพื่อการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน
แผนแมบท ICT ฉบับที่ 2 จึงไดรับการพัฒนาขึ้นโดยพิจารณาถึงความตอเนื่องในเชิงนโยบาย
ภายใตกรอบ IT 2010 รวมถึงเรงรัดแกไขจุดออนที่สงผลใหแผนแมบท ICT ฉบับที่ 1 ไมสามารถบรรลุ
เปาหมายไดอยางสมบูรณ

2.3 สถานภาพการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย
การพัฒนา ICT ของประเทศไทยในเวทีโลกโดยภาพรวม เมื่อพิจารณาจากดัชนีชี้วัดระดับ สากล อาทิ Networked Readiness Ranking, e-Readiness Ranking พบวาจัดอยูในระดับปานกลาง แตเมื่อเปรียบเทียบประเทศไทยกับประเทศอื่นในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศเพื่อนบาน อยางสิงคโปรและมาเลเซีย พบวาประเทศเพื่อนบานมีอันดับการพัฒนา ICT ที่สูงกวาประเทศไทย ในทุกๆ ดัชนี
ปจจัยสําคัญที่ฉุดรั้งอันดับการพัฒนา ICT ของประเทศไทยในทุกๆ ดัชนี คือ ความพรอม ดานโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งยังมีไมเพียงพอและยังแพรกระจายไมทั่วถึง ทําใหการพัฒนาและการใชประโยชนของ ICT เพื่อตอยอดองคความรู การพัฒนาธุรกิจ การใหบริการ ของภาครัฐ ยังไมมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเทาทีควร ดังนั้น การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน ICT จึงเปนประเด็นสําคัญประการหนึ่งที่แผนแมบท ICT ฉบับที่ 2 ตองพิจารณาแกไขปญหา

3. สรุปหลักการและประเด็นที่สําคัญของแผนแมบทฯ ฉบับที่ 2
1. มีเปาหมายในเชิงการพัฒนาสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู ที่สอดคลองกับทิศ ทางการพัฒนาประเทศตามที่กําหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งถือเปน แผนพัฒนาฯ หลักของประเทศ
2. สานความตอเนื่องทางนโยบายจาก IT2010 และ “แผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารของประเทศไทย (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2545-2549” โดยยังใหความสําคัญกับการพัฒนา และประยุกตใช ICT ในดานการคา (e-Commerce) และอุตสาหกรรม (e-Industry) (ในยุทธศาสตรที่ 5 และ 6 ของแผนฯ), ดานการศึกษาและการพัฒนาคนและสังคม (e-Education and e-Society) (ในยุทธศาสตรที่ 1 และ 3) และในการดําเนินงานของภาครัฐ เพื่อสนับสนุนการสรางธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการ (ในยุทธศาสตรที่ 4) นอกจากนี้ ไดใหความสําคัญกับการพัฒนาตอยอดจากที่ไดดาเนินมาแลวในชวงแผนฯ ฉบับที่ 1 แตยังไมบรรลุเปาหมาย เพื่อใหเกิดผลที่เปนรูปธรรมโดยเร็ว

3. มุงเนนการแกไขสิ่งที่เปนจุดออนที่สําคัญ 2 ประการเปนลําดับแรก ไดแก 1) การพัฒนาคน ใหมีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรอบรู้สารสนเทศ (Information Literacy) (ดูความหมาย ในสวนถัดไป) และ 2) การบริหารจัดการ ICT ระดับชาติ ใหยึดหลักธรรมาภิบาล นอกจากนี้ ยังใหความสําคัญกับการเรงพัฒนาโครงขายความเร็วสูงใหมีการกระจายอยางทั่วถึงและ ราคาเปนธรรมเนื่องจากเปนโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญสําหรับการพัฒนาในสังคมและ เศรษฐกิจฐานความรูและนวัตกรรม ที่อาศัย ICT เปนพลังขับเคลื่อนหลัก และเปนสิ่งที่ ประเทศไทยยังมีระดับการพัฒนาที่ดอยกวาหลายๆ ประเทศ
4. ใชแนวปฏิบัติที่สอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหเกิดการพัฒนาที่สมดุลดวย
การสรางความเขมแข็งจากภายใน โดย
- เรงพัฒนาคนใหมีความสามารถที่จะสรางของเพื่อใชเองได และพัฒนาอุตสาหกรรม ภายในประเทศใหมีความเขมแข็ง โดยการสงเสริมการวิจัยและพัฒนา และการสงเสริม ผูประกอบการ เพื่อใหสามารถพึ่งตนเองไดในระยะยาว
- คํานึงถึงความพรอมดานทรัพยากร และการใชอยางคุมคา
5. ใหความสําคัญกับการพัฒนาและการใช ICT เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งและความ ไดเปรียบในการแขงขันของภาคการผลิตและบริการที่ไทยมีศักยภาพ โดยเฉพาะในภาค การเกษตร การทองเที่ยว และการบริการดานสุขภาพ โดยใชประโยชนจากภูมิปญญา ทองถิ่น วัฒนธรรมไทย และเอกลักษณของไทย

วันพุธที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2552

(3)สังเคราะห์ความรู้จากแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552-2556


4. วิสัยทัศน พันธกิจ และเปาหมาย

4.1 วิสัยทัศน
“ประเทศไทยเปนสังคมอุดมปญญา (Smart Thailand) ดวย ICT”
“สังคมอุดมปญญา” ในที่นี้หมายถึงสังคมที่มีการพัฒนาและใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารอยางชาญฉลาด โดยใชแนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนทุกระดับ มีความเฉลียวฉลาด (Smart) และรอบรูสารสนเทศ (Information literacy) สามารถเขาถึง และใช สารสนเทศอยางมีคุณธรรม จริยธรรม มีวิจารณญาณและรูเทาทัน กอใหเกิดประโยชนแกตนและ สังคม มีการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล (Smart Governance) เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสูเศรษฐกิจและสังคมฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืนและมั่นคง

4.2 พันธกิจ
(1) พัฒนากําลังคนใหมีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอ ทั้งบุคลากรดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Professionals) และบุคลากรในสาขาอาชีพอื่นๆ ทุกระดับ ที่มีความรูความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณและรูเทาทัน อยางมีคณธรรม จริยธรรม เพื่อรวมขับเคลื่อนประเทศไทยสู สังคมและเศรษฐกิจฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืนและมั่นคง
(2) พัฒนาโครงขายสารสนเทศและการสื่อสารความเร็วสูงที่มีการกระจายอยางทั่วถึง มี บริการที่มีคุณภาพ และราคาเปนธรรม เพื่อใหเปนโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศหลัก ที่ทุกภาคสวนสามารถใชในการเขาถึงความรู สรางภูมิปญญา และภาคธุรกิจและ อุตสาหกรรมสามารถใชในการสรางมูลคาเพิ่มแกภาคเศรษฐกิจของประเทศ
(3) พัฒนาระบบบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีธรรมาภิบาล โดยมี กลไก กฎระเบียบ โครงสรางการบริหารและการกํากับดูแล ที่เอื้อตอการพัฒนาอยาง บูรณาการ มีความเปนเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และสงเสริมการมีสวนรวมของทุกภาค สวนในสังคม เพื่อสนับสนุนใหเกิดธรรมาภิบาลในระบบบริหารจัดการประเทศ สอดคลองกับเปาหมายที่กําหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

4.3 วัตถุประสงค
(1) เพื่อพัฒนากําลังคนดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Professional) ใหมี ปริมาณและคุณภาพตรงกับความตองการของตลาด และบุคลากรในสาขาอาชีพตางๆ ทุกระดับ รวมถึงประชาชนทั่วไป ใหมีความรูความสามารถในการสรางสรรค พัฒนา และใชICT อยางมีประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณและรูเทาทัน เพื่อเปนรากฐานการ พัฒนาประเทศไทยสูสังคมและเศรษฐกิจฐานความรูและนวัตกรรมอยางยั่งยืนและมั่นคง
(2) เพื่อสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยใช แนวปฏิบติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เนนความมีเอกภาพ การบูรณาการ การใช ทรัพยากรอยางคุมคา และการมีสวนรวมของทุกภาคสวนที่เกียวของ เพื่อใหมีการ จัดสรรผลประโยชนจากการพัฒนาสูประชาชนในทุกภาคสวนอยางเปนธรรม โดยใช กลไกความเปนหุนสวนระหวางภาครัฐและภาคเอกชน (Public-Private Partnership) อยางเหมาะสม
(3) เพื่อสนับสนุนการปรับโครงสรางการผลิตสูการเพิ่มคุณคา (Value Creation) ของสินคา และบริการบนฐานความรู้และนวัตกรรม โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(4) เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนและปจเจกบุคคล โดยการเขาถึงและใช ประโยชนจากสารสนเทศ ในกิจการของครัวเรือนและชุมชน รวมถึงในการแสวงหา ความรู สรางภูมิปญญา การมีสวนรวมในระบบการเมืองการปกครอง และในการ ดํารงชีวิตประจําวัน เพื่อนําไปสูการพึ่งตนเองและลดปญหาความยากจน โดยเฉพาะใน กลุมผูดอยโอกาส ผูพิการ และผูสูงอายุ
(5) เพื่อเสริมสรางศักยภาพของธุรกิจและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร โดยเนนการเพิ่มมูลคาเพิ่ม (Value-Added) ในประเทศ การวิจัยและ พัฒนาและการใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถิ่น วัฒนธรรมไทย และเอกลักษณของ คนไทย เพื่อสนับสนุนการพัฒนาสูสังคมและเศรษฐกิจฐานความรูและนวัตกรรมอยาง ยั่งยืน

4.4 เปาหมาย
(1) ประชาชนไมน้อยกวารอยละ 50 ของประชากรทั้งประเทศ มีความรอบรู สามารถเขาถึง สรางสรรคและใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณ รูเทาทัน มีคุณธรรมและจริยธรรม(Information Literacy) กอเกิดประโยชนตอการเรียนรู การทํางาน และการดํารงชีวิต ประจําวัน
(2) ยกระดับความพรอมทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ ขึ้นอยางนอย 15 อันดับ ใน Networked Readiness Rankings ภายในป พ.ศ. 2556
(3) เพิ่มบทบาทและความสําคัญของอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีสัดสวนมูลคาเพิ่มของอุตสาหกรรม ICT ตอ GDP ไมนอยกวารอยละ 20 ภายในป พ.ศ. 2556

5. ยุทธศาสตรการพัฒนา

เพื่อใหบรรลุซึ่งวัตถุประสงคและเปาหมายของการพัฒนา ICT อยางเปนรูปธรรมภายใต เงื่อนไขที่เปนจุดแข็ง จุดออน โอกาส และภัยคุกคามของการพัฒนา ICT ของประเทศไทย แผนแมบทฯ ฉบับนี้ไดกําหนยุทธศาสตร์หลักขึ้น 6 ดาน โดยภาครัฐ เอกชน และประชาชน จะมีสวนรวมกัน ดําเนินงานใหเปนไปตามเนือหาสาระของแผนในชวงพ.ศ. 2552-2556 เพื่อนํา ICT มาใชประโยชน ในการสรางศักยภาพในการพึ่งพาตนเอง และเพื่อสามารถแขงขันในโลกสากลได รวมถึงการสราง สังคมแหงภูมิปัญญาและการเรียนรู อันนําไปสูคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นขอประชาชนไทยโดยทั่วกัน โดยยุทธศาสตรทั้ง 6 ดาน ไดแก
ยุทธศาสตร์ที่1. ยุทธศาสตรการพัฒนากําลังคนดาน ICT และบุคคลทั่วไปใหมีความสามารถในการ สรางสรรค ผลิต และใชสารสนเทศอยางมีวิจารณญาณและรูเทาทัน มีสาระสําคัญเพื่อเรงพัฒนากําลังคนที่มีคุณภาพและปริมาณเพียงพอที่จะรองรับการพัฒนา ประเทศสูสังคมฐานความรูและนวัตกรรม ทั้งบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Professional) และบุคลากรในสาขาอาชีพตางๆ รวมถึงเยาวชน ผูดอยโอกาส ผูพิการ และประชาชน ทุกระดับ ใหมีความรูความสามารถในการสรางสรรค ผลิต และใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมี ประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม วิจารณญาณ และรูเทาทัน (Information Literacy) กอใหเกิด
ประโยชนแกตนและสังคมโดยรวม โดยมีมาตรการที่สําคัญแบงออกเปน 3 กลุมหลัก

(1) การพัฒนาบุคลากรเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT Professional) ประกอบดวย มาตรการยอย 2 กลุมคือ
(1.1) พัฒนาผูที่กําลังศึกษาอยูในระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษาใหมีทักษะและคุณภาพตรง กับความตองการของภาคอุตสาหกรรม โดยมีมาตรการที่คัญคือ สนับสนุนการพัฒนาอาจารย ดาน ICT ในสถาบันการศึกษาใหสามารถพัฒนาองคความรูอยางตอเนื่องและสามารถทําวิจัยและพัฒนาในสาขา ICT ขั้นสูง มีกลไกใหอาจารยทํางานใกลชิดกับผู้ประกอบการเพื่อเขา ใจความตองการของภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น ปรับปรุงรูปแบบ/วิธีการในการจัดการเรียนการ สอนในสถาบันการศึกษาระดับปริญญาตรีและโทใหเนนการปฏิบัติงานจริงกับ ภาคอุตสาหกรรม สงเสริมใหมีการนํา open source software มาใชเปนเครื่องมือในการเรียน การสอน และการวิจัยตอยอดเพื่อสงเสริมใหเกิดนักพัฒนารุนใหม สําหรับการพัฒนาเพื่อเพิ่ม ปริมาณและคุณภาพของบุคลากร ICT ที่มีทักษะสูง ซึ่งประเทศไทยยังขาดแคลนนั้น ใหจัดตั้ง มหาวิทยาลัยหรือสถาบันเฉพาะทางดาน ICT (โดยอาจเปนการจัดตั้งใหมหรือยกระดับจาก สถาบันการศึกษาที่มีอยู) และสนับสนุนใหบุคลากรที่จบการศึกษาในสาขาอื่นๆ ไดมีโอกาส เขาศึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนสายวิชาชีพเปนบุคลากรดาน ICT
(1.2) พัฒนาบุคลากร ICT ที่ปฏิบัติงานในภาคอุตสาหกรรมอยูในปจจุบน (ICT Workforce) ใหมีความรู ทักษะ และศักยภาพสูงขึ้น โดยสรางแรงจูงใจในการเขารับการฝกอบรมและ สอบมาตรฐานวิชาชีพที่มีการกําหนดไวในระดับสากล และกําหนดกลไกเพื่อใหเกิดการ ถายทอดเทคโนโลยีและองคความรูจากบริษัทขามชาติที่เขารวมโครงการ ICT ของภาครัฐ สูผูประกอบการไทย สรางแรงจูงใจใหผูประกอบการลงทุนในการพัฒนาบุคลากร ICT

(2) การพัฒนาบุคลากรในสาขาวิชาชีพอื่นๆ และบุคคลทั่วไป ประกอบดวย
(2.1) สงเสริมใหมีการนํา ICT มาใชเปนเครื่องมือในการเรียนการสอนในการศึกษาในระบบ ทุกระดับมากขึ้น แตมุงเนนที่การศึกษาขั้นพื้นฐานเปนสําคัญ โดยพัฒนาทักษะดาน ICT ใหแก ครู ควบคูไปกับการปรับหลักสูตรการเรียนการสอนที่เนนการพัฒนาความสามารถในการคิด วิเคราะห แกปญหาโดยใช ICT เปนเครื่องมือ ในขณะเดียวกัน ตองใหมีการเรียนการสอน เกี่ยวกับจริยธรรมในการใช ICT ในหลักสูตรภาคบังคับ ในทุกระดับชั้นการศึกษา และตอง สงเสริมการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส การจัดทําแหลงเรียนรูในโรงเรียน รวมถึงการสงเสริมใหเกิดชุมชนออนไลนของนักเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนการเรียนรู การแสดง ความคิดเห็น ทั้งนี้ในการดําเนินงานเพื่อสงเสริมกิจกรรมการเรียนรูตางๆ ควรใชกลไกความ เปนหุนสวนระหวางภาครัฐแลภาคเอกชน (Public-Private Partnership: PPP) และมีการ ประเมินผลการดําเนินงานเปนระยะ
(2.2) พัฒนาการเรียนรู ICT นอกสถาบันการศึกษาเพื่อสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต โดยจัด ใหมีแหลงเรียนรู ICT ของชุมชนที่มีสื่ออิเล็กทรอนิกสทหลากหลาย มีการฝกอบรมใหแก ผูใชบริการ มีบริการเพื่ออํานวยความสะดวกในการเขาถึงแหลงความรู/ขอมูลทั้งจากสวนกลาง และขอมูลทองถิ่นที่จะเปนประโยชนแกอาชีพและการดํารงชีวิตประจําวันแกประชาชน พรอม ทั้งสงเสริมใหมีการพัฒนาฐานขอมูลและโปรแกรมประยุกตที่เปนประโยชนตอการพัฒนาอาชีพ และการดํารงชีวิตประจําวัน ที่ใชงานและสืบคนงายสําหรับคอมพิวเตอรและโทรศัพทเคลื่อนที่
(2.3) พัฒนาทักษะ ICT แกแรงงานในสถานประกอบการ เพื่อใหสามารถใชประโยชนจาก ICT ในการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางาน โดยการสรางแรงจูงใจแกสถาน ประกอบการในการลงทุนพัฒนาความรู/ทักษะ ICT แกพนักงาน รวมถึงสงเสริมการพัฒนา ระบบ e-Learning สําหรับการเรียนรู ICT
(2.4) พัฒนาการเรียนรู ICT แกผูดอยโอกาส ผูพิการ และผูสูงอายุ การจัดทําและเผยแพร อุปกรณ ICT ทั้งฮารดแวร ซอฟตแวร เทคโนโลยีสิ่งอํานวยความสะดวก สื่อการเรียนรู เนื้อหา สาระดิจิทัลสําหรับผูดอยโอกาสกลุมตางๆ และใชมาตรการตางๆ เพื่อสรางโอกาสให ผูดอยโอกาสเหลานั้นสามารถเขาถึงสารสนเทศไดอยางเทาเทียม รวมถึง รวมถึงการทําวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีสําหรับผูพิการ และการฝกอบรมความรูดาน ICT แกผูสูงอายุ
(2.5) พัฒนาความรูและทักษะดาน ICT แกบุคลากรภาครัฐ โดยมีการกําหนดมาตรฐาน ความรู ICT สําหรับบุคลากรภาครัฐทุกระดับ และจัดใหมีกลไกการผลักดันใหเกิดการพัฒนา บุคลากรภาครัฐเพื่อใหมีความรู ความสามารถและทักษะที่สอดคลองกับมาตรฐานตําแหนง รวมถึงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาความรูความสามารถดาน ICT ใหแกบุคลากรภาครัฐ ทั้งนี้ ใหมี แรงจูงใจ คาตอบแทน และโอกาสความหนาในการทํางานที่เหมาะสม

(3) มาตรการสนับสนุนอื่นๆ เพื่อเสริมสรางการพัฒนา “คน” ในวงกวาง เชน การพัฒนา ระบบฐานขอมูลกําลังคนดาน ICT ของประเทศ เพื่อประกอบการวางแผนดานการพัฒนา กําลังคน สงเสริมสมาคม/ชมรม/เครือขายสงเสริมการใช ICT อยางสรางสรรค สงเสริมการ แปลหนังสือที่มีประโยชนจากตางประเทศเปนภาษาไทยและเผยแพรหลากหลายชองทาง เปนตน
ยุทธศาสตรที่ 2: การบริหารจัดการระบบ ICT ระดับชาติอยางมีธรรมาภิบาล (National ICT Governance)
มีวัตถุประสงคเพื่อปรับปรุงการบริหารจัดการและการกํากับดูแล กลไกและกระบวนการ
ในการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ ใหมีธรรมาภิบาล โดยเนน
ความเปนเอกภาพ การใชทรัพยากรอยางคุมคา และการมีสวนรวมของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ
โดยมีมาตรการ 4 กลุม ประกอบดวย
(1) ปรับปรุงโครงสรางการบริหารและการจัดการ ICT ระดับชาติ เพื่อใหมีหนวยงาน กลางภายในกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่รับผิดชอบในการผลักดัน วาระดาน ICT ของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งการกํากับดูแลและผลักดันแผนแมบทฯ ไปสูการปฏิบัติ และเสริมสรางความเขมแข็งของหนวยงานที่ทําหนาที่เปนหนวยธุรการ ของคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส เพื่อใหสามารถปฏิบัติหนาที่ตาม พระราชบัญญัติวาดวยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2544 และ 2551 ไดอยาง มีประสิทธิภาพ สรางกลไกในการทํางานเพื่อใหเกิดความรวมมือและการบูรณาการ ระหวางหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของกับการพัฒนา ICT ของประเทศ และจัดตั้งจัดตั้ง สภา ICT เพื่อเปนองคกรที่เปนตัวแทนของภาคเอกชน ที่รวมผลักดันการทํางานแบบPPP ในการขับเคลื่อนวาระดาน ICT ของประเทศ
(2) ปรับปรุงกระบวนการจัดทํา/เสนองบประมาณ และกระบวนการพิจารณาจัดสรร งบประมาณดาน ICT ของรัฐ เพื่อใหเกิดการใชจายอยางคุมคา มีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซอน และสอดคลองกับทิศทาง/แนวทางที่กาหนดในแผนแมบท ICT
(3) พัฒนา และ/หรือปรับปรุงกฎหมาย/กฎระเบียบที่เกี่ยวของ รวมถึงกลไกการบังคับใชกฏหมาย/กฏระเบียบ เพื่อใหเอื้อตอการใช ICT และการทําธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส รวมถึงปรับปรุงวิธีการจัดซื้อจัดจางผลิตภัณฑ/ระบบงาน ICT ของภาครัฐ ใหมุงเนนความสําเร็จของงานและคุณภาพมากกวาการเปรียบเทียบดานราคาอยางเดียว และใหสามารถจางสถาปนิก นักออกแบบ หรือที่ปรึกษา เขามาชวยในกระบวนการจัดซื้อ จัดจางงาน/โครงการดาน ICT
(4) ปรับปรุงระบบฐานขอมูลตัวชี้วัดสถานภาพการพัฒนา ICT ของประเทศ เพื่อ สนับสนุนการติดตามประเมินผลการพัฒนา ICT ของประเทศ และการดําเนินการตามแผน แมบท ICT

(4)สังเคราะห์ความรู้จากแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552-2556

ยุทธศาสตรที่ 3: การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาและบริหารจัดการโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศและการสื่อสาร ใหมี การกระจายอยางทั่วถึงไปสู่ประชาชนทั่วประเทศ รวมถึงผูดอยโอกาส ผูสูงอายุ และผูพิการ โดย สงเสริมใหผูประกอบการจัดใหมีโครงสรางพื้นฐานที่มีศักยภาพทันกับวิวัฒนาการของเทคโนโลยี เพื่อ รองรับการขยายตัวของความตองการของผูบริโภค สามารถใหบริการมัลติมีเดีย ธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนิกส และบริการใดๆ ที่เปนประโยชนตอวิถชีวิตสมัยใหมในสังคมแหงการเรียนรู อีกทั้ง มุงเนนการลดปญหาความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงขอมูลขาวสาร เพือทําใหสังคมมีความสงบสุข และ ประชาชนมีคณภาพชีวิตทีดีขึ้น โดยมีมาตรการที่สําคัญ 4 กลุม ประกอบดวย
(1) ขยายประเภทบริการ เพิ่มพื้นที่ใหบริการ และปรับปรุงประสิทธิภาพของโครงขาย โทรคมนาคม ภายใตหลักการแขงขันเสรีและเปนธรรมอยางแทจริงและใหเกิดผลในทาง ปฏิบัติ โดยสงเสริมการลงทุนทั้งจากในประเทศและตางประเทศ สนับสนุนผูประกอบการ ไทย โดยเฉพาะใหผูประกอบการในทองถิ่นสามารถลงทุนในเทคโนโลยีทางเลือกเพื่อสราง เชื่อมตอ และ ใหบริการโครงขายปลายทาง (last mile) โดยมีหลักการในการขยายโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศที่เริ่มจากจังหวัดศูนยกลางความเจริญในภูมิภาคและอําเภอเมืองทั่วประเทศ กอนที่จะมีการขยายไปยังพื้นที่ที่เหลือตามความเหมาะสมของเวลา บนหลักเศรษฐกิจพอเพียง
(2) เรงรัดการสรางความมั่นคงของระบบสารสนเทศ (Information security) ของ หนวยงานของรัฐและหนวยงานที่เกี่ยวกับโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญยิ่งยวด (Critical Infrastructure) ของประเทศ รวมถึงการสรางความรูความเขาใจถึงภัยอันตรายและ ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เพื่อหาแนวทางในการปองกันและแกไขอยางเหมาะสม
(3) พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT เพื่อยกระดับการศึกษา และการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน โดยการสรางแรงจูงใจแกผูประกอบการในการพัฒนาโครงขาย ICT เพื่อ การศึกษา การจัดสรรงบประมาณดาน ICT ใหแกโรงเรียน ที่ครอบคลุมทั้งคาอุปกรณ คาบริการ และคาใชจายในการพัฒนาบุคลากรอยางสมดุล สําหรับการศึกษานอกระบบ และการเรียนรูตลอดชีวิต ใหจัดใหมีโครงสรางพื้นฐาน ICT ที่เหมาะสมสําหรับสถาน บริการ เชน หองสมุดประจําทองถิ่น ศูนยสารสนเทศชุมชน เพื่อใหสามารถใหบริการ อิเล็กทรอนิกสและเสริมสรางการเรียนรูใหแกบุคคลกลุ่มอื่นๆ ในชุมชน ควบคู่ไปกับการ สงเสริมการพัฒนาเนื้อหาที่เปนภาษาไทยและเนื้อหาทีเกี่ยวกับทองถิ่น (local contents) ที่เปนประโยชนตอการศึกษา การงานอาชีพ สุขภาพและสาธารณสุข ของชุมชน
(4) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานสารสนเทศสําหรับบริการภาคสังคมทีสําคัญตอความ ปลอดภัยสาธารณะและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยรัฐรวมกับองคกรกํากับดูแล กิจการโทรคมนาคมและการแพรภาพกระจายเสียง ในการจัดสรรทรัพยากรการสื่อสาร โทรคมนาคมและโครงขาย ICT เพื่อการบริการภาคสังคมที่สําคัญ อาทิ การสาธารณสุข พื้นฐาน การเฝาระวัง การเตือนภัย และการจัดการในชวงหลังการเกิดภัยพิบัติ พรอมทั้ง ใหมีการจัดสรรงบประมาณดาน ICT แกหนวยงานที่รับผิดชอบบริการดังกลาว อาทิ สถานพยาบาลและสถานีอนามัยในชนบททั่วประเทศอยางเหมาะสม
(5) เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการโครงขายและทรัพยากร โดยมีการจัดทํา ฐานขอมูลโครงขายในประเทศ เพื่อนํามาประกอบในการกําหนดพื้นที่สําหรับบริการอยางทั่วถึง (USO) และใหมีการศึกษาเพื่อติดตามความกาวหนาและแนวโนมของ เทคโนโลยี รวมทั้งเพื่อวิเคราะหเปรียบเทียบเทคโนโลยีทางเลือกตางๆ เปนระยะๆ อยาง ตอเนื่อง และเพื่อรองรับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี เชน แนวทางการ เปลี่ยนผานระบบการแพรภาพกระจายเสียงจากระบบอนาลอกไปสูระบบดิจิทัล (Digital broadcasting) และการนําคลื่นความถี่มาจัดสรรสําหรับกิจการ/บริการที่เหมาะสมเพื่อลด ปญหาความเหลื่อมล้ําในการเขาถึงสารสนเทศและความรู (Digital divide) หรือผลกระทบ ของการหลอมรวมของเทคโนโลยี รวมถึงกําหนดนโยบายคุมครองผูบริโภคที่สอดคลองกับ
มาตรฐานสากล
ยุทธศาสตรที่ 4: การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการสราง ธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการของภาครัฐ (e-Governance)

มุงเนนใหหนวยงานของรัฐใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการสราง ธรรมาภิบาลในการบริหารและการบริการ สามารถตอบสนองตอการใหบริการที่เนนประชาชนเปน ศูนยกลางไดอยางมีประสิทธิ ภาพและประสิทธิผล โปรงใส เปนธรรม และสงเสริมการมีสวนรวมของ ทุกภาคสวนทีเกี่ยวของโดยมีมาตรการสํา คัญประกอบดวย
(1) สรางความเขมแข็งของหนวยงานกลางที่รับผิดชอบการกําหนดกรอบแนวทาง ปฏิบัติและมาตรฐานที่จําเปนสําหรับการพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสของรัฐแบบ บูรณาการ โดยใหมีหนวยงานกลางที่รับผิดชอบการออกแบบสถาปตยกรรมของระบบ ICT ของรัฐ (Government ICT Architecture) ทําหนาที่กําหนดกรอบนโยบายที่เกี่ยวกับ ขอมูลและการสื่อสารขอมูล และกําหนดมาตรฐานที่จําเปน และสอดคลองกับ มาตรฐานสากล เพื่อใหทกหนวยงานสามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูลกันไดอยางมี เอกภาพและประสิทธิภาพ และเรงรัดการจัดตั้งกรมแผนที่พลเรือน ตามพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ใหแลวเสร็จภายในป พ.ศ. 2552 เพื่อเปน หนวยงานรับผิดชอบดานโครงสรางพื้นฐานขอมูลภูมิสารสนเทศ (National Spatial Data Infrastructure: NSDI) ของประเทศ เพื่อสร้างกลไกให้เกิดการใช้สารสนเทศ รวมกันไดโดยเร็ว
(2) ใหทุกกระทรวงดําเนินการเพื่อพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกสของรัฐแบบบูรณาการ โดยใหทุกหนวยงานปรับปรุงระบบขอมูล และระบบบริหารจัดการ ใหสามารถเชื่อมโยงกับระบบของภาครัฐที่มีการดําเนินการอยู เชน TH e-GIF, NSDI และ GIN และให ทุกหนวยงานใช ICT เปนชองทางหนึ่งในการสงเสริมและสนับสนุนใหภาคประชาสังคม เขามามีสวนรวมในการบริหารราชการแผนดิน
(3) สรางความเขมแข็งดาน ICT แกหนวยงานของรัฐในภูมิภาคในระดับจังหวัดและ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และจัดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีบุคลากรที่ รับผิดชอบงานดาน ICT เพื่อประสานงานกับหนวยงานกลางในการเรียนรูมาตรฐานตางๆ รวมทั้งการบริหารทรัพยากร และผลักดันการดําเนินงานดาน ICT ที่สอดคลองกับแนว ปฏิบัติของสวนกลาง และสรางกลไกใหมีการทํางานรวมกับ CIO จังหวัด เพื่อใหเกิดการ บังคับใชมาตรฐานตางๆ ในการพัฒนา ICT ตั้งแตระดับจังหวัดลงไปถึงองคกรปกครองสวนทองถิ่น

ยุทธศาสตรที่ 5: ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม ICT เพื่อสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและรายไดเขาประเทศ

มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการ ICT ไทย โดยมุงเนนการสรางงานวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมภายในประเทศ ทั้งจากหนวยงานภาครัฐ ภาคการศึกษา และภาคเอกชน ใหมีความสามารถในการผลิตเทคโนโลยีในระดับตนนำเพิ่มขึ้น สงเสริมมการถายทอดเทคโนโลยีที่เกิดจากงานวิจัยสูผู้ประกอบการ และสรางสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการประกอบธุรกิจ โดยใหความสําคัญเปนพิเศษกับการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟตแวรและดิจิทัลคอนเทนทใหสามารถสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและรายไดเขาประเทศมากขึ้น สวนในอุตสาหกรรมอื่นที่ไทยมีศักยภาพ อาทิ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส (ระบบสมองกลฝงตัว หรือการออกแบบขั้นสูง) และอุตสาหกรรมอุปกรณโทรคมนาคม ในชวงแผนนี้จะเนน เรื่องการวิจัยพัฒนาเพื่อมุงสูขีดความสามารถในระดับตนทุนต่ำ เพื่อพัฒนาเปนอุตสาหกรรมที่สรางรายไดเขาประเทศในระยะตอไป โดยมาตรการทีสําคัญของยุทธศาสตรนี้ประกอบดวย ่
(1) การสนับสนุนดานเงินทุน/เงินชวยเหลือเพื่อสงเสริมใหเกิดผูประกอบการรายใหม โดยเฉพาะอยางยิ่งเงินชวยเหลือสําหรับการทําวิจัยและพัฒนา เพื่อใหไดโครงการและ ตนแบบภาคอุตสาหกรรม พรอมนี้ รัฐควรสนับสนุนการลงทุนในการจัดหาเครื่องมือ ทรัพยสินทางปญญา และสถานที่กลาง ทีมีการจัดบริการใหคําปรึกษาทางธุรกิจ เพื่อใหผูประกอบการสามารถมาเชาใชบริการ เพื่อการพัฒนาและสรางสรรคงาน เพื่อเปนการลดความเสี่ยงและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันแกผูประกอบการ
(2) การยกระดับมาตรฐานสินคาและบริการ ICT ไทยสูระดับสากล โดยสนับสนุนงานวิจัยพัฒนาและนวัตกรรมในอุตสาหกรรม ICT เพื่อสรางสรรคหรือตอยอดการพัฒนา ขีดความสามารถทางเทคโนโลยีของผูประกอบการไทย ใหสามารถผลิตเทคโนโลยีตนน้ำ เพิ่มมากขึ้น สรางกลไกที่อํานวยความสะดวกใหกับผูคิดคนสิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรมใหม ในการจดสิทธิบัตรทั้งในและตางประเทศ ควบคูไปกับกระบวนการคุมครองทรัพยสิน ทางปญญาทีมีประสิทธิภาพ และสามารถบังคับใชไดจริง เพื่อสรางแรงจูงใจใหผูประกอบการพัฒนาและสรางนวัตกรรมอยางตอเนื่อง รวมทั้งสรางความแข็งแกรงใหกับสถาบันและกลไกในการตรวจสอบและรับรองคุณภาพสินคาและบริการ ICT ที่ผลิตในประเทศไทย
(3) การสรางโอกาสทางการตลาดและโอกาสในการแขงขันสําหรับผูประกอบการไทย ทั้งตลาดภายในประเทศและตลาดตางประเทศโดยสนับสนุนการจัดตั้งสภา ICT เพื่อสงเสริมใหเกิดการรวมตัวและเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับกลุมผูประกอบการภาคเอกชน ทั้งนี้ ในการสรางตลาดภายในประเทศ ใหใชตลาดภาครัฐเปนตัวนํา และไมให กําหนดเงื่อนไขในระเบียบการจัดซื้อจัดจางหรือกําหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑและบริการใน TOR ของโครงการดาน ICT ของภาครัฐที่เปนการกีดกันผูประกอบการใน ประเทศ สวนการรุกตลาดตางประเทศของภาคเอกชน ใหรัฐใหการสนับสนุนการนําเสนอผลงานของผูประกอบการไทยในเวทีตางประเทศ และสนับสนุนการจัดทําขอมูลเพื่อใชในการวางแผนสงเสริมการตลาดทั้งภายในและตางประเทศ
(4) การสงเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรม ICT ทั้งภายในประเทศและจากตางประเทศ โดยพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ICT ในประเทศใหมีการกระจายอยางทั่วถึง เพื่อดึงดูดการลงทุนในอุตสาหกรรม ICT `ในภูมิภาคตางหรือในจังหวัดศูนยกลางความเจริญในภูมิภาค รวมถึงสรางกลไก/มาตรการจูงใจที่เอื้อตอการลงทุนในอุตสาหกรรม ICT จาก ตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีระดับสรางกลไกที่เอื้อใหเกิดการถายทอดความรูและเทคโนโลยีจากบริษทขามชาติมายังผูประกอบการหรือบุคลากรไทย

(5)สังเคราะห์ความรู้จากแผนแม่บท ICT ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552-2556 (5)

ยุทธศาสตรที่ 6: การใช ICT เพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันอย่างยั่งยืน
มีวัตถุประสงคในการสงเสริมภาคการผลิตของประเทศใหเขาถึงและสามารถใชประโยชนจาก ICT เพื่อกาวไปสูการผลิตและการคาสินคาและบริการ ที่ใชฐานความรูและนวัตกรรมและเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการ โดยการสรางคุณคาของสินคา และบริการ (Value Creation) และมูลคาเพิ่มในประเทศ เพื่อพรอมรองรับการแขงขันในโลกการคาเสรี ในอนาคต โดยใหความสําคัญเปนพิเศษกับการพัฒนาภาคการผลิตและบริการที่ไทยมีศักยภาพ เพือสรางรายไดเขาประเทศ ไดแก ภาคการเกษตร การบริการสุขภาพ และการทองเที่ยว รวมถึงการพัฒนาผูประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก และวิสาหกิจชุมชน โดยมีมาตรการที่สําคัญประกอบดวย
(1) สรางความตระหนักและพัฒนาขีดความสามารถดาน ICT ของผูประกอบการ
เพื่อใหสามารถนําไปใชประโยชนในการประกอบธุรกิจ รวมถึงนํา ICT ไปใชในการ
พัฒนาและบริหารจัดการระบบโลจิสติกส ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
(2) เสริมสรางความเชื่อมั่นในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส โดยการเรงรัดการ
ออกกฏหมายที่ยังอยูในระหวางกระบวนการพิจารณาใหมีการประกาศใชโดยเร็ว และ
สรางกลไกใหการบังคับใชฎหมายที่มีในปจจุบันและที่จะมีในอนาคตมีประสิทธิภาพ ่ และประสิทธิผล รวมถึงสรางความรูความเขาใจแกประชาชน และผู้ประกอบการ
เพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในการทําธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส และสรางความเขมแข็ง
ของกระบวนการคุมครองผูบริโภค
(3) สงเสริมการนํา ICT มาใชในภาคการผลิตและบริการที่เปนยุทธศาสตรของ
ประเทศ และไทยมีความไดเปรียบ โดยเฉพาะการเกษตร การบริการดานสุขภาพ
และการทองเที่ยว โดยมุงเนนที่การจัดทําฐานขอมูลที่อิงตามมาตรฐานสากล และการ
เผยแพรขอมูลใหกับกลุมคนที่เกี่ยวของไดใชในการประกอบอาชีพ การตลาด และการ
ประชาสัมพันธ ทั้งนี้ โดยใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถิ่น วัฒนธรรมไทย และ
เอกลักษณของคนไทยในการพัฒนาผลิตภัณฑและบริการ
(4) ยกระดับศักยภาพในการแขงขันของผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม
(SMEs) และวิสาหกิจชุมชน โดยมุงเนนให SMEs เขาถึงและนํา ICT ไปใชในการทํา
ธุรกิจ และสรางแรงจูงใจในการลงทุนดาน ICT พรอมทั้งสงเสริมการทํา e-commerce
ของสินคาชุมชน (OTOP) เพื่อสนับสนุนการนําภูมิปญญาไทยและวัฒนธรรมทองถิ่น
มาใชในการสรางสรรคคุณคาของสินคาและบริการทีมีโอกาสทางการตลาดสูง โดย
การตอยอดขยายผลในเชิงพาณิชย โดยใชประโยชนจากโครงสรางพื้นฐาน ICT ที่มีใน
ชุมชุน อาทิ ศูนยบริการสารสนเทศชุมชน อบต.
(5) สงเสริมการนํา ICT มาใชในมาตรการประหยัดพลังงานเพื่อลดคาใชจาย และ
เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันทั้งในระดับองคกรและประเทศอยางยังยืน ่
โดยสงเสริมงานวิจัยที่เกี่ยวกับการนํา ICT มาใชในการประหยัดพลังงาน รวมทั้ง
สงเสริมและ/หรือ นํารองโครงการที่สามารถลดการใชพลังงานน้ํามันอยางเปนรูปธรรม
เชน โครงการสงเสริมการประชุมทางไกลผานระบบอินเทอรเน็ตความเร็วสูง
การพัฒนาระบบขนสงอัจฉริยะ เปนตน

ทั้งนี้ ในการแปลงแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารฉบับที่ 2 ไปสูการปฏิบัติ เพื่อใหเกิดผลสําเร็จดังเปาหมายที่ตั้งไวนั้น จําเปนตองพัฒนาโครงสรางการบริหารจัดการและระบบการติดตามประเมินผลเพื่อใหเปนเครื่องมือในการบริหารแผนฯ และการประเมินผลอยางมีประสิทธิภาพ โดยแนวทางที่สําคัญประกอบ ดวย
• การจัดใหมีหนวยงานผูรับผิดชอบภายในกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการผลักดันวาระดาน ICT ของประเทศ รวมถึงการจัดทํานโยบาย/แผนแมบท การกํากับดูแลและผลักดันแผนสูการปฏิบัติ รวมถึงการจัดตั้งคณะทํางานรายยุทธศาสตรประกอบดวยบุคลากรภายในกระทรวงและบุคลากรของกระทรวงอื่นๆ ที่ เกี่ยวของ
• การสรางกลไกในการทํางานรูปแบบตางๆ เชน กลไกเพื่อใหเกิดความรวมมือและการบูรณาการ ระหวางหนวยงานภาครัฐที่เกียวของกับการพัฒนา ICT ของประเทศ กลไกในการจัดสรรทรัพยากรอยางเหมาะสม โดยเชื่อมโยงระหวางแผนงาน แผนเงิน และแผนคน และการพัฒนากรอบและหลักเกณฑการพิจารณาแผนงาน/โครงการของสวนราชการรวมกันระหวางหนวยประสานงานกลางของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่จะจัดตั้งขึ้น
• การจัดใหมีคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกระทรวง และของหนวยงานในสังกัด รับผิดชอบในการบริหารแผนในแตละระดับ โดยใหผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO) เปนประธานคณะกรรมการฯ และใหคณะกรรมการฯ รายงานผลการดําเนินงานตอคณะกรรมการฯ ในระดับสูงขึ้นไป
ทุก 6 เดือน
• การเปดโอกาสใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการนําเสนอและใหความเห็นดานการพัฒนา ICT ตอรัฐบาล รวมกับรัฐในการกําหนดมาตรฐานวิชาชีพบุคลากรดาน ICT ตลอดจนเปนตัวแทนภาคเอกชนในการประสานนโยบายและการทํางานรวมกับภาครัฐ เพื่อผลักดันการทํางานแบบเปนหุนสวนระหวางภาครัฐและเอกชน (Public-Private Partnership: PPP) เพิ่มมากขึ้น
• การสรางตัวชี้ดําเนินการตามแผนแมบทฯ เพื่อใชประโยชนในการติดตามประเมินผล และจัดทําฐานขอมูลรายการดัชนีชี้วัดหลักของการพัฒนา ICT ของประเทศ (ICT core indicators) และตัวชีวัดความสําเร็จของการพัฒนาในทุกระดับ รวมทั้งการสรางเครือขายเชื่อมโยงฐานขอมูลโดยกําหนดใหหนวยงานทีรับผิดชอบแตละดัชนีปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยตลอดเวลา และเชื่อมโยงขอมูลไปยังหนวยงานกลางเพื่อเผยแพรใหหนวยงาน/ประชาชนรับทราบทั่วไป รวมทั้งใหมีการศึกษาติดตามการพัฒนาดัชนี ดังกลาวในระดับนานาชาติอยางตอเนื่อง เพื่อปรับปรุงรายการรวมทั้งการใหคํานิยามดัชนีชี้วัดของประเทศไทยใหเหมาะสมตามกาลเวลา
• ตองมีการติดตามประเมินผลอยางเปนระบบและมีความตอเนื่อง โดยใหมีการติดตามความกาวหนา (monitoring) ของการดําเนินการตามแผนงาน /โครงการทุกป และมีการประเมินผลอยางเปนระบบ (evaluation)

การประยุกต์ใช้เทคโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา


ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านโป่ง
กับ การประยุกต์ใช้เทคโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา

ปัจจุบันพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการประยุกต์ใช้งานอย่างกว้างขวาง คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตได้เข้ามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวัน ทั้งนี้เพราะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมสามารถประมวลผลข้อมูลข่าวสารได้เร็ว และสื่อสารกันได้สะดวก เทคโนโลยีดังกล่าว จึงเรียกรวมว่า ICT - Information and Communication Technology ไอซีที มีบทบาทต่อการศึกษาอย่างมาก โดยเฉพาะการประยุกต์ในระบบการศึกษา

ความหมาย ICT

ICT ย่อมาจาก “Information and Communication Technology” หมายถึง “ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร” เทคโนโลยีสำหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง แปลง จัดเก็บ ประมวลผล และค้นคืนสารสนเทศ
I ย่อมาจากคำว่า Information คือ ระบบสารสนเทศ
C ย่อมาจากคำว่า Communication คือ การสื่อสาร
T ย่อมาจากคำว่า Technology คือ เทคโนโลยี ในที่นี้คือ คอมพิวเตอร์

ความสำคัญของ ICT

การใช้ ICT ใน การจัดการเรียนรู้ ความหมายโดยรวม หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ การสื่อสาร เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ ซึ่งรวมไปถึงการให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล พ. ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนดแนวทางในการปฏิรูปการศึกษาไทย โดยให้ความสำคัญ กับผู้เรียนเป็นหลัก เพื่อรองรับกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี ให้ความสำคัญสูงสุดในกระบวนการการปฏิรูปการเรียนรู้ ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เพื่อ ให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และรู้จักแสวงหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต จัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง การปฏิบัติให้คิดเป็น ทำเป็น ปลูกฝังคุณธรรมในทุกวิชา มีเป้าหมายให้ผู้เรียนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุขอย่างแท้จริง

ปัจจุบันพบว่ากระทรวงศึกษาธิการได้เล็งเห็นความสำคัญเรื่อง ICT จึงได้กำหนดวิสัยทัศน์ในแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2550 – 2554 ดังนี้ “ผู้เรียน ผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา และประชาชน ใช้ประโยชน์จาก ICT ในการเข้าถึงบริการทางการศึกษา ได้เต็มศักยภาพ อย่างมีจริยธรรม มีสมรรถนะทาง ICT ตามมาตรฐาน สากล” เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการศึกษาในภาพรวมอย่างเป็นรูปธรรม

ลักษณะการใช้ ICT

· การสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
· การนำข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้งาน
· การสร้างแหล่งข้อมูลด้วยตนเอง
บทบาทของสถานศึกษาในการใช้ ICT เพื่อจัดการเรียนรู้

1. กำหนดนโยบายที่สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันด้าน ICT
2. จัดทำหลักสูตร/จัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสภาพความต้องการด้าน ICT
3. ผู้บริหารมีความมุ่งมั่น และมีการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง
4. สนับสนุนครู และบุคลากรทางการศึกษาได้มีโอกาสเข้าถึงการใช้งาน ICT อย่างทั่วถึง
5. ปรับบทบาทและวิธีการสอนของครู

สถานศึกษาที่มุ่งหวังจะนำ ICT มาใช้ในการเรียนการสอนจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องต่อไปนี้
1. มีความร่วมมือระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน
2. ติดต่อกับแหล่งความรู้ต่าง ๆ ทั้งในและนอกโรงเรียน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ เชื่อมโยงโรงเรียนเข้ากับชุมชน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
3. จัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. ขจัดปัญหาเรื่องพรมแดน สถานที่และเวลา
5. นำศักยภาพของสื่อ ICT มาช่วยเสริมกระบวนการเรียนรู้

ดังนั้น การจะพัฒนาประเทศให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดจนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันจำเป็นที่จะต้องมีการส่งเสริม พัฒนาโครงสร้าง ICT ให้ครอบคลุมทั่วทุกภาค ทั้งเขตเมือง และชนบท รวมทั้งการส่งเสริมการใช้ ICT ของ ประชากร ทั้งในการดำรงชีวิต และในการทำงาน ซึ่งจำเป็นที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะต้องศึกษา และหาวิธีการที่จะกระตุ้นเพื่อให้ประชาชนได้เห็นถึงความสำคัญ และประโยชน์ของการใช้ ICT

รูปแบบและวิธีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษา

ปัจจุบันทั่วโลกให้ความสำคัญกับการลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT) เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา ในยุคของการปฏิรูปการศึกษา เราเร่งพัฒนาการศึกษาให้การศึกษาไปพัฒนาคุณภาพของคน เพื่อให้คนไปช่วยพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) จึงเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูงในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา เช่น ช่วยนำการศึกษาให้เข้าถึงประชาชน ส่งเสริมการเรียนรู้ต่อเนื่องนอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ช่วยจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและแม่นยำในการจัดทำข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ในงานจัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยการเรียนการสอน ครู จะมีบทบาทสำคัญในการช่วยชี้แนะทิศทางของการแสวงหาความรู้หรือแนะนำผู้เรียน ให้พัฒนาความรู้ความสามารถเพิ่มขึ้นให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพผลการ เรียนรู้ที่ควรจะเป็น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาการศึกษา เช่น การ เรียนรู้แบบออนไลน์เป็นการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางอินเตอร์เน็ต หรืออินทราเน็ตเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ได้ในรูปแบบต่างๆ เช่น การที่นักเรียนที่เรียนรู้ได้ช้า สามารถใช้เวลาเพิ่มเติมกับบทเรียนด้วยสื่อซีดีรอมเพื่อตามให้ทันเพื่อนนักเรียน ในขณะที่นักเรียนที่รับข้อมูลได้ปกติ สามารถเพิ่มศักยภาพในการ “เรียนรู้ด้วยตนเอง” (independent learning) ได้มากขึ้นจากความหลากหลายของเนื้อหาในสื่ออิเล็กทรอนิกส์

1. การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ

หลักการที่สำคัญคือเป็นการพัฒนา ICT เพื่อการบริหารจัดการ ผ่านทาง website ในลักษณะ web Application ตามนโยบายของกระทรวง ของสำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน และนโยบายของภาค เพื่อให้สามารถนำเอา ICT มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษานอก โรงเรียน ด้วยการพัฒนาบุคลากร ในเรื่องต่อไปนี้
1.การใช้งาน Google Apps. และการประยุกต์ใช้เพื่อการบริหารจัดการ กลุ่มเป้าหมายคือ บุคลากรของสถานศึกษา ให้สามารถใช้ Google Apps. ได้
2.การใช้งานระบบ e-Budget เป็นการใช้เพื่อการบริหารเพื่อควบคุมระบบงบประมาณ
3.การใช้งานระบบ e-Document เพื่อการจัดการเกี่ยวกับระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิก์
4.e-Library ใช้โปรแกรมระบบ PLS เพื่อจัดการระบบค้นหา ยืม คืน หนังสื่อในห้องสมุด
5.อื่นๆ

2. การพัฒนา Website ของสถานศึกษา และประยุกต์ใช้งานร่วมกับ Application อื่นๆ

หลักการที่สำคัญของกิจกรรมนี้คือ การพัฒนา website ของสถานศึกษาให้พร้อมที่จะรองรับการทำงานของระบบต่างๆ ผ่านทาง Internet (Web Application) โดยมีเป้าหมาย ที่สำคัญ 3 ประการคือ มี website มีเนื้อหาสาระ ข้อมูลข่าวสารและข้อมูลความรู้ ใน website และ มีการปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัย โดยมีกิจกรรมที่จะดำเนินการดังนี้
3.1 จัดหา เช่า พื้นที่ Web Hosting เพื่อสร้าง Website ของสถานศึกษา
3.2 ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง คัดเลือก CMS (Content Management System) เช่น Joomla Mambo เป็นต้น ใช้เป็นระบบขับเคลื่อน Website ของสถานศึกษา
3.3 จัดระบบบริหารจัดการ Website ของสถานศึกษา

3. ระบบ ICT เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้และส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต

หลักการที่สำคัญของกิจกรรมนี้คือ การสร้างกลไก ที่จะช่วยผลักดันและขับเคลื่อนให้การพัฒนา ICT พื่อสนับสนุนการเรียนรู้และส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต โดยมีแนวทางการดำเนินการ ดังนี้
3.1 Blog เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการบริหารจัดการเรียนรู้
3.2 วางแผนการพัฒนา ICT ในระดับภาค
3.3 ติดตามความก้าวหน้า และประเมินผลการดำเนินงาน